วางใจให้ออมสิน

ดูแลความสุขของชีวิตคุณ

banner banner

ค่าธรรมเนียมที่เกี่ยวเนื่องกับเงินฝาก สินเชื่อ และบัตร

ค่าธรรมเนียมที่เกี่ยวเนื่องกับเงินฝาก สินเชื่อ และบัตร

 

ประเภทบริการ อัตราค่าธรรมเนียม
1. ค่าธรรมเนียมการให้สินเชื่อเคหะ  
      กรณีผู้กู้ชำระคืนเงินกู้ก่อนกำหนด เฉพาะกรณีไถ่ถอนจำนองก่อนครบกำหนดในทุกกรณี (Pre-payment) เพื่อไปใช้บริการกับสถาบันการเงินอื่นภายในระยะเวลา 3 ปี นับแต่วันที่ทำสัญญากู้เงิน ร้อยละ 3.00 ของยอดเงินต้นคงหลือ
2. ค่าธรรมเนียมการให้สินเชื่อธุรกิจ  
(1) การให้บริการสินเชื่อเพื่อธุรกิจ (ค่าธรรมเนียมจัดการเงินกู้ : Management Fee หรือค่าธรรมเนียม วิเคราะห์โครงการ : Front End Fee)  
(1.1)  กรณีใช้โครงการค้ำประกันสินเชื่อ บสย. SMEs สร้างชาติ (PGS 9)  หรือโครงการค้ำประกันสินเชื่อ บสย. SMEs เข้มแข็ง (PGS 10) ค้ำประกัน โดยพิจารณาจากสัดส่วนการใช้ บสย. ค้ำประกันดังนี้  
– การค้ำประกันไม่เกินร้อยละ 50 ของวงเงินกู้ – ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 1.35 ของวงเงินสินเชื่อที่ได้รับอนุมัติ และขั้นต่ำไม่น้อยกว่า 5,000 บาท สูงสุดไม่เกินร้อยละ 3.00 ของวงเงินสินเชื่อที่ได้รับอนุมัติ
– การค้ำประกันที่ไม่เกินร้อยละ 50 ถึงร้อยละ 70 ของวงเงินกู้ – ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 1.50 ของวงเงินสินเชื่อที่ได้รับอนุมัติ และขั้นต่ำไม่น้อยกว่า 5,000 บาท สูงสุดไม่เกินร้อยละ 3.00 ของวงเงินสินเชื่อที่ได้รับอนุมัติ
– การค้ำประกันที่ไม่เกินร้อยละ 70 ถึงร้อยละ 100 ของวงเงินกู้ – ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 1.70 ของวงเงินสินเชื่อที่ได้รับอนุมัติ และขั้นต่ำไม่น้อยกว่า 5,000 บาท สูงสุดไม่เกินร้อยละ 3.00 ของวงเงินสินเชื่อที่ได้รับอนุมัติ
(1.2)  กรณีอื่นนอกเหนือจาก (1.1) – ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 1.00 ของวงเงินสินเชื่อที่ได้รับอนุมัติ และขั้นต่ำไม่น้อยกว่า 5,000 บาท สูงสุดไม่เกินร้อยละ 3.00 ของวงเงินสินเชื่อที่ได้รับอนุมัติ
( 1.3) กรณีใช้สมุดฝากเงินออมสิน หรือสลากออมสินพิเศษเป็นหลักประกันเต็มวงเงินกู้  
– กรณีสมุดฝากเงินออมสินเป็นหลักประกัน ไม่ต่ำกว่าฉบับละ 1,000 บาท
– กรณีสลากออมสินพิเศษเป็นหลักประกัน

ไม่ต่ำกว่า 1,000 บาท / สัญญาเงินกู้

ทั้งนี้ ค่าธรรมเนียมสูงสุดต้องไม่เกินร้อยละ 3.00 ของวงเงินสินเชื่อที่ได้รับอนุมัติ

การต่อตั๋วสัญญาใช้เงิน หรือการทบทวนวงเงิน หรือการต่อสัญญาของวงเงินกู้ระยะสั้น (เงินกู้ตั๋วสัญญา ใช้เงิน : P/N, ตั๋วแลกเงิน : B/E หรือวงเงินเบิกเกินบัญชี : OD) – ยกเว้นห้
(2) กรณีการให้บริการจัดทำนิติกรรมสัญญาที่เกี่ยวข้องกับหลักประกันประเภทอสังหาริมทรัพย์ – รายละ 1,000 บาท
(3) กรณีผู้กู้ชำระคืนเงินกู้เสร็จสิ้น หรือไถ่ถอนจำนองก่อนครบกำหนดอายุตามสัญญา  
(3.1) ประเภทสินเชื่อวงเงินกู้ระยะยาวกรณีไถ่ถอนจำนองไปใช้บริการที่สถาบันการเงินอื่นเท่านั้น (ตลอดอายุสัญญากู้เงิน) ร้อยละ 3.00 ของยอดเงินต้นคงหลือ
(3.2) ประเภทสินเชื่อวงเงินกู้ระยะยาว กรณีสินเชื่อที่ใช้บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) Portfolio Guarantee Scheme 6 ปรับปรุงใหม่ ค้ำประกัน ที่ชำระเงินกู้เสร็จสิ้นก่อนครบระยะเวลา 5 ปี นับจากวันที่ลงนามในสัญญากู้เงินในทุกกรณี ร้อยละ 3.00 ของยอดเงินต้นคงเหลือ
(3.3) ประเภทสินเชื่อวงเงินกู้ระยะยาว กรณีสินเชื่อเจ้าสัว 555 กรณี Re-Finance จากสถาบันการเงินอื่น ที่ชำระเงินกู้เสร็จสิ้นก่อนครบระยะเวลา 5 ปีนับตั้งแต่วันที่ลงนามในสัญญากู้เงินในทุกกรณี ร้อยละ 3.00 ของยอดเงินต้นคงเหลือ
(4) ค่าธรรมเนียมผูกพันวงเงิน (Commitment Fee)  
(4.1) กรณีผู้กู้ใช้วงเงินหมุนเวียนเฉลี่ย (Utilize) น้อยกว่าร้อยละ 50 ของวงเงินกู้ สำหรับเงินกู้ตั๋วสัญญาใช้เงิน : P/N หรือวงเงินเบิกเกินบัญชี : OD เฉพาะกรณีที่ใช้ บสย. Portfolio Guarantee Scheme 6 ปรับปรุงใหม่ ค้ำประกัน ร้อยละ 1.00 ของจำนวนเงินกู้ตามสัญญา
(4.2) กรณีอนุมัติสินเชื่อและลูกค้าไม่จัดทำนิติกรรมสัญญา ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 0.50 ของวงเงินเสนอขออนุมัติสินเชื่อ และขั้นต่ำไม่น้อยกว่า 5,000 บาท
(4.3) กรณีไม่เบิกใช้วงเงินสินเชื่อตามระยะเวลาที่ธนาคารกำหนด สำหรับสินเชื่อ “เจ้าสัว” ประเภทเงินกู้ระยะยาว ร้อยละ 1.00 ของวงเงินกู้ที่ยังไม่ได้เบิกใช้
3. ค่าธรรมเนียมการออกหนังสือแสดงข้อมูลทางการเงินด้านสินเชื่อ (เฉพาะสินเชื่อธุรกิจ)  
(1) ประเภทหนังสือรับรองสินเชื่อตามความเป็นจริง ฉบับละ 500 บาท
(2) หนังสือรับรองสินเชื่อแบบมีเงื่อนไข ร้อยละ 0.05 ของวงเงินที่รับรอง แต่ไม่ต่ำกว่า 2,000 บาท ต่อฉบับ
(3) หนังสือรับรองสินเชื่อแบบไม่มีเงื่อนไข ร้อยละ 1.00 ของวงเงินที่รับรอง แต่ไม่ต่ำกว่า 2,000 บาท ต่อฉบับ
4. ค่าธรรมเนียมการออกหนังสือรับรองภาระสินเชื่อ  
(1) หนังสือรับรองสินเชื่อสำหรับผู้ให้หลักประกันตามกฏหมายว่าด้วยหลักประกันทางธุรกิจเฉพาะที่ยื่นขอครั้งแรก หรือขออีกครั้ง เกินกว่า 6 เดือน นับแต่วันที่ยื่นขอครั้งก่อน
ยกเว้นให้
(2) หนังสือรับรองสินเชื่อสำหรับผู้ให้หลักประกันตามกฏหมายว่าด้วยหลักประกันทางธุรกิจเฉพาะที่ยื่นขอครั้งแรก หรือขออีกครั้งภายใน 6 เดือน นับแต่วันที่ยื่นขอครั้งก่อน หรือกรณีอื่นนอกจาก (1) ภาษาไทย  ฉบับละ 100 บาท
ภาษาอังกฤษ ฉบับละ 100 บาท
5. ค่าธรรมเนียมการให้สินเชื่อแฟคตอริ่ง  
(1) ค่าวิเคราะห์โครงการ (Front End Fee) ร้อยละ 0.50 ของวงเงินรวมที่อนุมัติ และไม่ต่ำกว่า 5,000 บาท
(2) ค่าธรรมเนียมนิติกรรม รายละ 2,000 บาท และทุกครั้งเมื่อมีการเพิ่มวงเงิน
(3) ค่าธรรมเนียมบริการ ร้อยละ 0.15 ของมูลหนี้ที่นำมาโอนสิทธิ หรือคิดเป็นจำนวนเงินแบบเหมาจ่ายตามระยะทาง และไม่ต่ำกว่า 2,000 บาท
(4) กรณีเก็บเงินไม่ตรงกำหนด คิดเบี้ยปรับเพิ่มอีกร้อยละ 3 ต่อปี ของยอดเงินเบิกล่วงหน้า ผ่อนผันไม่เกิน 10 วัน หากพ้นกำหนดผ่อนผันจะคิดตั้งแต่วันผิดนัด
6. ค่าธรรมเนียมการให้สินเชื่อ “โครงการสินเชื่อหมุนเวียนเสริมสภาพคล่องเพิ่มเครดิตการค้า”  
(1) ค่าวิเคราะห์โครงการ (Front End Fee) ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 0.50 ของวงเงินกู้ และขั้นต่ำไม่น้อยกว่า 5,000 บาท
(2) ค่าธรรมเนียมนิติกรรม รายละ 2,000 บาท และทุกครั้งเมื่อมีการเพิ่มวงเงิน
(3) ค่าธรรมเนียมบริการ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 0.15 ของเงินเบิกล่วงหน้า และไม่ต่ำกว่า 1,500 บาท หรือคิดแบบเหมาจ่าย ไม่ต่ำกว่า 2,000 บาท
(4) ค่าธรรมเนียมผูกพันเงินกู้ (Commitment Fee) กรณีลูกค้าใช้วงเงินเฉลี่ยต่ำกว่าร้อยละ 50 ของวงเงินกู้ ร้อยละ 1.00 ของวงเงินกู้
7. ค่าธรรมเนียมการให้สินเชื่อ “โครงการเสริมศักยภาพผู้รับเหมา SCG – Turn – Key”  
การให้บริการสินเชื่อธุรกิจ (ค่าธรรมเนียมจัดการเงินกู้ : Management Fee หรือค่าธรรมเนียมวิเคราะห์โครงการ : Front End Fee)  
(1) กรณีผู้รับเหมาก่อสร้าง ร้อยละ 0.50 ของวงเงินกู้
(2) กรณีผู้รับเหมาขนส่ง ร้อยละ 0.25 ของวงเงินกู้ และขั้นต่ำไม่น้อยกว่า 5,000 บาท
8. การให้บริการสินเชื่อที่อยู่ในความดูแลของฝ่ายสินเชื่อสหกรณ์และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  

(1) การให้บริการสินเชื่อ (ค่าธรรมเนียมจัดการเงินกู้ Management Fee หรือค่าธรรมเนียมวิเคราะห์โครงการ : Front End Fee) ทุกประเภทวงเงิน

การต่อตั๋วสัญญาใช้เงิน หรือการทบทวนวงเงิน หรือการต่อสัญญาของวงเงินกู้ระยะสั้น (เงินกู้ตั๋วสัญญาใช้เงิน : P/N ตั๋วแลกเงิน : B/E หรือวงเงินเบิกเกินบัญชี : OD)

ร้อยละ 0
(2) กรณีการให้บริการจัดทำนิติกรรมสัญญาที่เกี่ยวข้องกับหลักประกันประเภทอสังหาริมทรัพย์ ร้อยละ 0
(3) กรณีผู้กู้ชำระคืนเงินกู้เสร็จสิ้น หรือไถ่ถอนจำนองก่อนครบกำหนด (Prepayment)  
(3.1) กรณีผู้กู้ไถ่ถอนจำนองก่อนครบกำหนดอายุตามสัญญา (ตลอดอายุสัญญากู้เงิน) เฉพาะประเภทวงเงินกู้ระยะยาว กรณีผู้กู้ชำระคืนเงินกู้เสร็จสิ้น หรือไถ่ถอนจำนองก่อนครบกำหนดในทุกกรณี (Prepayment Fee) ร้อยละ 0
(3.2) กรณีผู้กู้ชำระตั๋วสัญญาใช้เงินก่อนครบกำหนด (Prepayment Fee) ร้อยละ 0.50 ของจำนวนเงินกู้ตามตั๋วสัญญาใช้เงินแต่ละฉบับ
(4) ค่าตรวจสภาพที่ดิน และ/หรืออาคาร เฉพาะกรณีที่บริษัทประเมินเป็นผู้ประเมินราคาหลักทรัพย์ ร้อยละ 0
(5) ค่าตรวจสอบผลการปลูกสร้าง หรือต่อเติมซ่อมแซมอาคาร ร้อยละ 0
9. ค่าธรรมเนียมการให้สินเชื่อธุรกิจห้องแถวทุกประเภท ดังนี้  

(1) การให้บริการสินเชื่อธุรกิจห้องแถว

ทั้งนี้ ยกเว้นการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมกรณีทบทวนวงเงิน หรือการต่อสัญญาของวงเงินกู้ระยะสั้น

 
(1.1) กรณีใช้บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) หรือหลักประกันทางธุรกิจที่ธนาคารกำหนดเป็นหลักประกัน ร้อยละ 0.50 ของวงเงินกู้ตามสัญญา และไม่ต่ำกว่า 1,000 บาท
(1.2) กรณีที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง ห้องชุด ที่ดินว่างเปล่า และที่ดินที่เป็นที่สวน ที่ไร่ ที่นา เป็นหลักประกัน ร้อยละ 0.25 ของวงเงินกู้ตามสัญญา และไม่ต่ำกว่า 1,000 บาท
(1.3) กรณีใช้หลักประกัน (1.1) ร่วมกับหลักประกันอื่น ร้อยละ 0.50 ของวงเงินกู้ตามสัญญา และไม่ต่ำกว่า 1,000 บาท
(2) การให้บริการสินเชื่อธุรกิจแฟรนไชส์ ร้อยละ 1.00 ของวงเงินกู้ตามสัญญา และไม่ต่ำกว่า 300 บาท
           (3) การให้บริการสินเชื่อ Street Food ยกเว้นให้
(4) การให้บริการจัดทำนิติกรรมสัญญาที่เกี่ยวข้องกับหลักประกันประเภทอสังหาริมทรัพย์ รายละ 1,000 บาท

หมายเหตุ
ทั้งนี้ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2566 เป็นต้นไป

ค่ารักษาบัญชีเงินฝากออมสินประเภทเผื่อเรียกที่ผู้ฝากไม่มาติดต่อฝาก หรือถอนภายในระยะเวลา 1 ปี นับถัดจากวันที่มีรายการติดต่อกับธนาคารออมสินครั้งสุดท้าย และมีจำนวนเงินคงเหลือต่ำกว่า 500 บาท ให้คิดค่ารักษาบัญชี ดังนี้

ประเภทบริการ อัตราค่าธรรมเนียม
1. บัญชีของส่วนราชการ องค์การของรัฐ รัฐวิสาหกิจ บัญชีกองทุนสงเคราะห์โรงเรียนราษฎร์ และบัญชีค่าทดแทนการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2530 ยกเว้นให้
2. บัญชีเงินฝากของเด็กและบัญชีเพื่อประโยชน์ของผู้เยาว์ที่มีอายุไม่เกิน 20 ปี ยกเว้นให้
3. บัญชีที่เกี่ยวข้องกับการทำธุรกรรมกับธนาคาร ซึ่งขอยกเว้นเป็นกรณีพิเศษ เช่น บัญชีคู่โอนดอกเบี้ยหรือรางวัลสลาก บัญชีที่ใช้โอนเงินสินเชื่อ บัญชีที่ใช้โอนเงินของโครงการพัฒนาศักยภาพของหมู่บ้านและชุมชน (SML) ยกเว้นให้
4. บัญชีประเภทอื่นนอกจาก 1. – 3. เดือนละ 20 บาท

หมายเหตุ
ทั้งนี้ตั้งแต่ 1 เมษายน 2556 เป็นต้นไป

 

ค่ารักษาบัญชีเงินฝากออมสินประเภทกระแสรายวันที่ผู้ฝากไม่มาติดต่อฝากหรือถอนภายในระยะ เวลา 1 ปี นับถัดจากวันที่มีรายการติดต่อกับธนาคารออมสินครั้งสุดท้าย และมีจำนวนเงินคงเหลือต่ำกว่า 500 บาท ให้คิดค่ารักษาบัญชี ดังนี้

ประเภทบริการ อัตราค่าธรรมเนียม
1. บัญชีของส่วนราชการ องค์การของรัฐ รัฐวิสาหกิจ บัญชีเบิกเงินเกินบัญชี และบัญชีคู่โอน ยกเว้นให้
2. บัญชีประเภทอื่นนอกจาก 1. เดือนละ 20 บาท
เมื่อหักค่ารักษาบัญชีจนมียอดเงินคงเหลือเป็นศูนย์ ธนาคารออมสินจะดำเนินการปิดบัญชี  

หมายเหตุ
ทั้งนี้ตั้งแต่ 1 เมษายน 2556 เป็นต้นไป

ประเภทบริการ อัตราค่าธรรมเนียม
1. ค่าวิเคราะห์โครงการ (Front End Fee) ร้อยละ 0.25 ของวงเงินรวมที่อนุมัติ และไม่ต่ำกว่า 2,500 บาท แต่เมื่อรวมทุกครั้งแล้วต้องไม่เกินรายละ 100,000 บาท
2. ค่าธรรมเนียมนิติกรรม รายละ 1,000 บาท และทุกครั้งเมื่อมีการเพิ่มวงเงิน
3. ค่าธรรมเนียมบริการ ร้อยละ 0.1-1.0 ของมูลหนี้ที่นำมาโอนสิทธิ หรือคิดเป็นจำนวนเงินแบบเหมาจ่ายตามระยะทาง และไม่ต่ำกว่า 1,000 บาท
4. กรณีเก็บเงินไม่ตรงกำหนด คิดเบี้ยปรับเพิ่มอีก ร้อยละ 5 ต่อปี ของยอดเงินเบิกล่วงหน้า ผ่อนผันไม่เกิน 10 วัน หากพ้นกำหนดผ่อนผันจะคิดตั้งแต่วันผิดนัด

หมายเหตุ
ทั้งนี้ตั้งแต่ 26 มีนาคม 2552 เป็นต้นไป

ประเภทบริการ อัตราค่าธรรมเนียม
ค่าธรรมเนียมประเมินราคาหลักทรัพย์ (กรณีธนาคารเป็นผู้ดำเนินการ)  
(1) ค่าประเมินราคาหลักทรัพย์ประเภทสินเชื่อเคหะ และสินเชื่อบุคคล  
1. วงเงินขอกู้ไม่เกิน 1,000,000 บาท รายละ 2,000 บาท
2. วงเงินขอกู้เกิน 1,000,000 บาท แต่ไม่เกิน 3,000,000 บาท รายละ 2,800 บาท
3. วงเงินขอกู้เกิน 3,000,000 บาท รายละ 3,700 บาท
(2) ค่าประเมินราคาหลักทรัพย์ประเภทสินเชื่อธุรกิจ ร้อยละ 0.25 ของวงเงินขอกู้หรือวงเงินขอกู้เพิ่ม ทั้งนี้ ต้องไม่ต่ำกว่า 2,000 บาท
(ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม)
(3) ค่าตรวจสอบสภาพที่ดินและหรืออาคาร เฉพาะกรณีที่บริษัทประเมินเป็นผู้ประเมินราคาหลักทรัพย์ ครั้งละ 800 บาท
(4) ค่าตรวจสอบผลการปลูกสร้าง หรือต่อเติมซ่อมแซมอาคาร ครั้งละ 800 บาท

หมายเหตุ
ทั้งนี้ตั้งแต่ 31 มีนาคม 2559 เป็นต้นไป

ประเภทบริการ อัตราค่าธรรมเนียม
1. กรณีการชำรุดหรือสูญหายเกิดจากภัยธรรมชาติหรือวินาศภัย ยกเว้นให้
2. กรณีการชำรุดหรือสูญหายเกิดจากเหตุอื่น นอกจาก 1. ฉบับละ 100 บาท

หมายเหตุ
ทั้งนี้ตั้งแต่ 4 เมษายน 2549 เป็นต้นไป

ค่ารักษาบัญชีเงินฝากออมสินประเภทเผื่อเรียกที่ผู้ฝากไม่มาติดต่อฝาก หรือถอนภายในระยะเวลา 1 ปี นับถัดจากวันที่มีรายการติดต่อกับธนาคารออมสินครั้งสุดท้าย และมีจำนวนเงินคงเหลือต่ำกว่า 500 บาท ให้คิดค่ารักษาบัญชี ดังนี้

ประเภทบริการ อัตราค่าธรรมเนียม
1. บัญชีของส่วนราชการ องค์การของรัฐ รัฐวิสาหกิจ บัญชีกองทุนสงเคราะห์โรงเรียนราษฎร์ และบัญชีค่าทดแทนการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2530 ยกเว้นให้
2. บัญชีเงินฝากของเด็กและบัญชีเพื่อประโยชน์ของผู้เยาว์ที่มีอายุไม่เกิน 20 ปี ยกเว้นให้
3. บัญชีที่เกี่ยวข้องกับการทำธุรกรรมกับธนาคาร ซึ่งขอยกเว้นเป็นกรณีพิเศษ เช่น บัญชีคู่โอนดอกเบี้ยหรือรางวัลสลาก บัญชีที่ใช้โอนเงินสินเชื่อ บัญชีที่ใช้โอนเงินของโครงการพัฒนาศักยภาพของหมู่บ้านและชุมชน (SML) ยกเว้นให้
4. บัญชีประเภทอื่นนอกจาก 1. – 3. เดือนละ 20 บาท

หมายเหตุ
ทั้งนี้ตั้งแต่ 1 เมษายน 2556 เป็นต้นไป

 

ค่ารักษาบัญชีเงินฝากออมสินประเภทกระแสรายวันที่ผู้ฝากไม่มาติดต่อฝากหรือถอนภายในระยะ เวลา 1 ปี นับถัดจากวันที่มีรายการติดต่อกับธนาคารออมสินครั้งสุดท้าย และมีจำนวนเงินคงเหลือต่ำกว่า 500 บาท ให้คิดค่ารักษาบัญชี ดังนี้

ประเภทบริการ อัตราค่าธรรมเนียม
1. บัญชีของส่วนราชการ องค์การของรัฐ รัฐวิสาหกิจ บัญชีเบิกเงินเกินบัญชี และบัญชีคู่โอน ยกเว้นให้
2. บัญชีประเภทอื่นนอกจาก 1. เดือนละ 20 บาท
เมื่อหักค่ารักษาบัญชีจนมียอดเงินคงเหลือเป็นศูนย์ ธนาคารออมสินจะดำเนินการปิดบัญชี  

หมายเหตุ
ทั้งนี้ตั้งแต่ 1 เมษายน 2556 เป็นต้นไป

การให้บริการ การออกสมุดคู่บัญชีเล่มใหม่แทนเล่มเก่าทุกกรณี (ยกเว้นสมุดคู่บัญชีที่ออกต่อให้เมื่อสมุดคู่บัญชีเล่มก่อนได้ใช้เต็ม หรือชำรุด หรือสูญหาย อันเนื่องมาจากอัคคีภัย หรือภัยธรรมชาติ ไม่คิดค่าธรรมเนียม)

ประเภทบริการ อัตราค่าธรรมเนียม
  เล่มละ 50 บาท

หมายเหตุ
ทั้งนี้ตั้งแต่ 26 พฤศจิกายน 2552 เป็นต้นไป

ประเภทบริการ อัตราค่าธรรมเนียม
1. ผู้ฝากทั่วไป หรือรัฐวิสาหกิจ  
(1) เงินฝากประเภทเผื่อเรียก เรียกเก็บในอัตราเดือนละ 20 บาท
(2) เงินฝากประเภทเผื่อเรียก (พิเศษ) และเงินฝากประเภทอื่นนอกจากข้อ (1)  
ก. ไม่เกิน 6 เดือน เดือนละ 20 บาท แต่ไม่เกิน 100 บาท
ข. เกิน 6 เดือน แต่ไม่เกิน 2 ปี เดือนละ 20 บาท แต่ไม่เกิน 200 บาท
ค. เกิน 2 ปี แต่ไม่เกิน 3 ปี เรียกเก็บในอัตรา 300 บาท
ค. เกิน 2 ปี แต่ไม่เกิน 3 ปี ครั้งละ 250 บาท
ง. เกิน 3 ปี แต่ไม่เกิน 4 ปี เรียกเก็บในอัตรา 400 บาท
จ. เกิน 4 ปีขึ้นไป เรียกเก็บในอัตรา 500 บาท
2. ส่วนราชการ ยกเว้นให้
3. การขอ STATEMENT ย้อนหลัง โดยขอเป็นแผ่น DISKETTE หรือ TAPE ยกเว้นให้
(1) ผู้ฝากทั่วไป หรือรัฐวิสาหกิจ เรียกเก็บในอัตราเดือนละ 200 บาท
(2) ส่วนราชการ ยกเว้นให้

หมายเหตุ
ทั้งนี้ตั้งแต่ 4 เมษายน 2549 เป็นต้นไป

การให้บริการบัตรอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่ง “บัตรอิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า บัตรออมสิน ATM บัตรออมสิน  บัตรออมสิน วีซ่า อิเล็กตรอน บัตรออมสิน วีซ่า เดบิต บัตรออมสิน วีซ่า เดบิต อินสแตนท์ บัตรออมสิน วีซ่า เดบิต สมาร์ท ไลฟ์ บัตรออมสิน เดบิต สมาร์ท แคร์ บัตรลดหนี้ วินัยดี มีวงเงิน (ATM LOAN) GSB GEN CARD บัตรอิเล็กทรอนิกส์อื่นที่ธนาคารออกใช้ และการให้บริการทำธุรกรรมที่เครื่องถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) ของธนาคารออมสิน

ประเภทบริการ อัตราค่าธรรมเนียม
1. ค่าทำบัตรอิเล็กทรอนิกส์  
(1) กรณีทำบัตรใหม่ ครั้งละ 100 บาท
(1.1) บัตรเดบิต ออมสิน อินสแตนท์ ครั้งละ 100 บาท
(1.2) บัตรเดบิต ออมสิน สมาร์ท ไลฟ์ ครั้งละ 100 บาท
(1.3) บัตรเดบิต ออมสิน สมาร์ท แคร์ ครั้งละ 100 บาท
(1.4) GSB GEN CARD / GSB GEN CARD Limited ครั้งละ 250 บาท
(1.5) บัตรเดบิต ออมสิน แอคซิเดนท์ ครั้งละ 100 บาท
(1.6) บัตรเดบิต ออมสิน เบสิค ยกเว้นให้
(1.7) บัตรเดบิต ออมสิน สบายใจ ครั้งละ 100 บาท
(2) กรณีทำบัตรใหม่ทดแทนบัตรเดิม หรือบัตรชำรุด / สูญหาย  
(2.1) บัตรเดบิต ออมสิน อินสแตนท์ ครั้ง 100 บาท
(2.2) บัตรเดบิต ออมสิน สมาร์ท ไลฟ์ ครั้ง 100 บาท
(2.3) บัตรเดบิต ออมสิน สมาร์ท แคร์ ครั้ง 100 บาท
(2.4) GSB GEN CARD / GSB GEN CARDLimited ครั้งละ175 บาท
(2.5) บัตรเดบิต ออมสิน แอคซิเดนท์ ครั้งละ100 บาท
(2.6) บัตรเดบิต ออมสิน เบสิค ครั้งละ 100 บาท
(2.7) บัตรเดบิต ออมสิน สบายใจ ครั้งละ 100 บาท
(3) กรณีทำบัตรใหม่ทดแทนบัตรเดิม กรณีลืมรหัส ครั้งละ 50 บาท
(4) กรณีทำบัตรใหม่ทดแทนบัตรเดิม กรณีที่เกิดจากธนาคาร ยกเว้นให้
2. ค่าใช้บัตรอิเล็กทรอนิกส์ รายปี  
(1) บัตรเดบิต ออมสิน อินสแตนท์ ปีละ 200 บาท
(2) บัตรเดบิต ออมสิน สมาร์ท ไลฟ์ ปีละ 999 บาท
(3) บัตรเดบิต ออมสิน สมาร์ท แคร์ ปีละ 599 บาท
(4) GSB GEN CARD / GSB GEN CARDLimited ปีละ 250 บาท
(5) บัตรเดบิต ออมสิน แอคซิเดนท์ ปีละ 400 บาท
(6) บัตรเดบิต ออมสิน เบสิค ยกเว้นให้
(7) บัตรเดบิต ออมสิน สบายใจ ปีละ 299 บาท
3. ค่าธรรมเนียมการทำรายการที่เครื่องถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) ธนาคารออมสิน โดยใช้บัตรอิเล็กทรอนิกส์ของธนาคารออมสินที่ใช้งานร่วมกับบัญชีเงินฝากของสาขาในจังหวัดเดียวกัน ยกเว้น กรุงเทพฯ นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ สมุทรสาคร นครปฐม และพระนครศรีอยุธยา ให้ถือเป็นเขตจังหวัดเดียวกัน  
(1) ถอนเงินหรือโอนเงินภายในบัตรเดียวกันที่เครื่องถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) ของธนาคารออมสิน ในเขตจังหวัดเดียวกัน ยกเว้นให้
(2) ถอนเงินที่เครื่องถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) ของธนาคารออมสิน นอกเขตจังหวัดเดียวกัน ครั้งละ 15 บาท
(3) โอนเงินในบัตรเดียวกันที่เครื่องถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) ของธนาคารออมสิน นอกเขตจังหวัดเดียวกัน ครั้งแรกของเดือนยกเว้นให้
ครั้งต่อไป คิดครั้งละ 15 บาท
(4) โอนเงินภายในธนาคาร กรณีที่บัญชีผู้โอนและบัญชีผู้รับโอน และเครื่องถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) ของธนาคารออมสินอยู่ในเขตจังหวัดเดียวกัน ยกเว้นให้
(5) โอนเงินภายในธนาคาร กรณีที่บัญชีผู้โอนและบัญชีผู้รับโอน หรือเครื่องถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) ของธนาคารออมสิน อย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งหมดอยู่นอกเขตจังหวัดเดียวกัน ครั้งแรกของเดือนยกเว้นให้
ครั้งต่อไป คิดครั้งละ 15 บาท
4. ค่าธรรมเนียมการทำรายการที่เครื่องถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) ธนาคารอื่น โดยใช้บัตรอิเล็กทรอนิกส์ของธนาคารออมสินที่ใช้งานร่วมกับบัญชีเงินฝากของสาขาในจังหวัดเดียวกัน ยกเว้น กรุงเทพฯ นนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ ให้ถือเป็นเขตจังหวัดเดียวกัน  
(1) ถอนเงินหรือโอนเงินในบัตรเดียวกันที่เครื่องถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) ของธนาคารอื่น ในเขตจังหวัดเดียวกัน ยกเว้นให้
(2) ถอนเงินหรือโอนเงินในบัตรเดียวกันที่เครื่อง
ถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) ของธนาคารอื่น นอกเขตจังหวัดเดียวกัน
ครั้งละ 20 บาท
5. การใช้บัตรอิเล็กทรอนิกส์ของธนาคารออมสินที่เครื่องถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) ของธนาคารอื่นในการถามยอด ถอนเงิน โอนเงินภายในบัตร ภายในเดือนเดียวกัน ตั้งแต่ครั้งที่ 5 เป็นต้นไป ครั้งละ 10 บาท ทั้งนี้ การทำรายการถามยอด
ก่อนแล้วจึงถอนเงินหรือโอนเงินถือเป็นการทำรายการ 2 ครั้ง
6. ค่าธรรมเนียมการโอนเงินรายย่อยระหว่างธนาคาร (ORFT) โดยใช้บัตรอิเล็กทรอนิกส์ ของธนาคารออมสิน ที่เครื่องถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) ของธนาคารออมสิน หรือเครื่องถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) ของธนาคารเจ้าของบัญชีผู้รับโอน ไม่เกิน 10,000 บาท ครั้งละ 25 บาท
มากกว่า 10,000 บาท แต่ไม่เกิน
50,000 บาท ครั้งละ 35 บาท
7. ค่าธรรมเนียมการส่ง SMEs Alert รายการโอนเงินรายย่อยระหว่างธนาคาร โดยใช้บัตรอิเล็กทรอนิกส์ของธนาคารออมสินที่เครื่องถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) ของธนาคารออมสินซึ่งผู้โอนเป็นผู้ชำระค่าธรรมเนียม ครั้งละ 3 บาท
8. ค่าธรรมเนียมการถอนเงินโดยใช้บัตรออมสิน วีซ่า อิเล็กตรอน บัตรออมสิน วีซ่า เดบิต บัตรออมสิน วีซ่า เดบิต อินสแตนท์ บัตรออมสิน วีซ่า เดบิต สมาร์ท ไลฟ์ของธนาคารออมสิน ที่เครื่องถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) ในต่างประเทศ  
(1) การถอนเงินสด ครั้งละ 100 บาท
(2) การถามยอด ครั้งละ 15 บาท
9. ค่าธรรมเนียมการถอนเงินโดยใช้บัตรอิเล็กทรอนิกส์ประเภทอื่น ๆ ที่เครื่องถอนเงินอัตโนมัติ ATM) ของธนาคารออมสิน  
(1) การถอนเงินสด  
(1) บัตรอิเล็กทรอนิกส์ต่างประเทศที่มีสัญลักษณ์ Visa Plus ครั้งละ 220 บาท
(2) บัตรอิเล็กทรอนิกส์ที่มีสัญลักษณ์ Union Pay ครั้งละ 150 บาท
(3) บัตรอิเล็กทรอนิกส์ที่มีสัญลักษณ์ Umay Plus ครั้งละ 13 บาท
(4) บัตรอิเล็กทรอนิกส์ที่มีสัญลักษณ์ AMERICAN EXPRESS  
– บัตรในประเทศ ครั้งละ 20 บาท
– บัตรต่างประเทศ ครั้งละ 50 บาท
(5) บัตรอิเล็กทรอนิกส์ในกลุ่ม Non Bank  
บัตรอิเล็กทรอนิกส์ที่มีสัญลักษณ์ AEON ที่ออกโดยธนาคารในประเทศ ครั้งละ 20 บาท
บัตรอิเล็กทรอนิกส์ที่มีสัญลักษณ์ AEON ที่ลูกค้ามีสินเชื่อส่วนบุคคลกับบริษัท AEON ครั้งละ 13 บาท
(6) บัตรอิเล็กทรอนิกส์ของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์ไทย ไอซีที จำกัด (บัตรกดเงินสดสหกรณ์) ครั้งละ 9 บาท
(7) บัตรอิเล็กทรอนิกส์ของชุมนุมสหกรณ์บัตรสินเชื่อเงินติดล้อ ครั้งละ 13 บาท
(2) การสอบถามยอดเงินคงเหลือของบัตรอิเล็กทรอนิกส์ของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์ไทย ไอซีที จำกัด (บัตรกดเงินสดสหกรณ์) ครั้งละ 9 บาท

หมายเหตุ
ทั้งนี้ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2565 เป็นต้นไป

บทความที่เกี่ยวข้อง

Thum Metaverse 1200

ออมสินเมตาเวิร์ส ประสบการณ์ใหม่ กับโลกเสมือนจริง ของธนาคารออมสิน

ขอต้อนรับเข้าสู่ ออมสินเมตาเวิร์สประสบการณ์ใหม่ กับโลกเสมือนจริง ของธนาคารออมสิน

, ข้อมูลเพิ่มเติม
ออมสินxขายหัวเราะ Tn

ออมสิน x ขายหัวเราะ

ออมสิน x ขายหัวเราะ

ข้อมูลเพิ่มเติม
Young,people,dancing,in,night,club

ปาร์ตี้อย่างไรให้ร่างไม่พัง เคล็ดลับดูแลสุขภาพสำหรับคนดื่มหนัก

รู้ได้อย่างไรว่าแบบไหนเรียกว่าดื่มหนัก คนรักการปาร์ตี้ควรดูแลตัวเองอย่างไรไม่ให้ดื่มหนักเกินไปจนส่งผลเสียกับสุขภาพร่างกาย

ข้อมูลเพิ่มเติม
Couple,visit,wedding,studio,to,choose,their,wedding,costume,,a

แต่งงานต้องใช้เงินเท่าไหร่ วางแผนเก็บเงินอย่างไรดี

อยากแต่งงานจะสร้างความพร้อมทางการเงินอย่างไรให้เก็บเงินได้ไว เพื่อจัดงานในฝันและความรักที่สุขสมหวัง

ข้อมูลเพิ่มเติม
Young,happy,excited,asian,business,woman,entrepreneur,winner,standing,on

7 นิสัยเล็กๆ ที่ช่วยดึงดูดโชคลาภเข้าหาตัว

ทำอย่างไรถึงจะเป็นคนโชคดี ด้วยวิธีเปลี่ยนแปลงนิสัยเล็กๆ น้อยๆ ให้เป็นคนที่มองเห็นโอกาส เปิดใจกว้าง และมองโลกในแง่ดี

ข้อมูลเพิ่มเติม
Cheerful,asian,woman,holding,credit,card,ready,to,travel,,tourism

ไปเที่ยวต่างประเทศ ควรทำบัตรเครดิตดีไหม

บัตรเครดิตช่วยให้การเที่ยวต่างประเทศสะดวกคล่องตัวได้มากกว่าอย่างไร ทำไมการมีบัตรเครดิตที่ใช้งานได้ทั่วโลกจึงคุ้มค่ามากกว่าเงินสด

ข้อมูลเพิ่มเติม
Shutterstock 1458778535

วางแผนซื้อรถยนต์คันแรก อะไรบ้างที่ต้องรู้เพื่อการเงินที่ดี

จะซื้อรถสักคันต้องใช้เงินเท่าไหร่ นอกจากค่ารถยังต้องเสียค่าอะไรอีกบ้าง อยากเป็นเจ้าของรถสักคันต้องวางแผนอย่างไรเพื่อการเงินที่ดี

ข้อมูลเพิ่มเติม
Shutterstock 604365356

ทางออกของมนุษย์เงินเดือนในยุคเงินเฟ้อเกินต้าน

เงินเฟ้อขึ้นต่อเนื่อง มนุษย์เงินเดือนจะรับมือกับภาวะข้าวของแพงอย่างไรให้เพียงพอกับค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น เริ่มต้นตั้งแต่การตั้งงบประมาณรายจ่ายต่อเดือน

ข้อมูลเพิ่มเติม
Shutterstock 1939728814

ปัญหาสุขภาพจากการทำงานที่ไม่เฮลตี้

ทำงานหนักจนเกินไหวย่อมไม่ดีกับสุขภาพกายและใจของคนวัยทำงาน หากปล่อยไว้นานอาจทำให้โรคภัยถามหา รู้ทันปัญหาสุขภาพเพื่อดูแลสภาพร่างกายและจิตใจให้แข็งแรง

ข้อมูลเพิ่มเติม
บทความ

อยากมีการเงินดีไม่จำเป็นต้องเครียด เพียงรู้จักวางแผน

วางแผนทางการเงินอย่างไรให้มีการเงินดี มีเกราะป้องกันความเครียดจากปัญหาทางการเงินที่คาดไม่ถึง

ข้อมูลเพิ่มเติม
Shutterstock 1543917539

อยากมีเงินเก็บตั้งแต่ First Jobber เริ่มต้นออมเงินอย่างไรดี

First Jobber อยากสะสมเงินเก็บให้ตัวเองตั้งแต่ทำงานที่แรกเริ่มต้นอย่างไรดี เคล็ดลับวางแผนออมเงินล่วงหน้า มีเงินเก็บให้ตัวเองได้ตั้งแต่วัยเริ่มทำงาน

ข้อมูลเพิ่มเติม
Shutterstock 286532258

พักฟื้นหัวใจคนหมดไฟ ให้การเดินทางช่วยเยียวยา

หมดไฟจนไร้เรี่ยวแรงจะตื่นไปทำงานแต่ละวัน เป็นเพราะอยู่กับความเครียดมาตลอดหรือเปล่า ถึงเวลาดูแลใจคนทำงานให้การออกไปเที่ยวนอกบ้านช่วยเยียวยาดีกว่า

ข้อมูลเพิ่มเติม
Shutterstock 1016991457

5 ประเทศน่าเที่ยว ค่าครองชีพเป็นมิตรกับคนรักการเดินทาง

ตะลอนเที่ยวต่างประเทศแบบประหยัดงบกับเมืองน่าเที่ยวรอบโลกตอบโจทย์คนรักการเดินทางและเป็นมิตรกับเงินในกระเป๋าสตางค์

ข้อมูลเพิ่มเติม
Shutterstock 1582426795

Healthy Aging ประคองใจอย่างไรในสังคมสูงวัยที่ไร้บุตรหลาน

ชราวัยแต่ไม่ชราใจ วางแผนชีวิตหลังเกษียนอย่างไรให้จิตใจและการเงินมั่นคงแม้ไร้บุตรหลานเพื่อชีวิตในบั้นปลายที่สุขสบา

ข้อมูลเพิ่มเติม
Shutterstock 1926325706

4 เรื่องต้องพร้อมก่อนเริ่มต้นลงทุนในกองทุนรวม

กองทุนรวม เป็นตราสารทางการเงินประเภทหนึ่งจากการรวบรวมเงินของนักลงทุนเพื่อนำเงินลงทุนที่รวมกันได้ไปลงทุนในสินทรัพย์ประเภทอื่นและทำให้เงินก้อนนี้เติบโตงอกเงยเพิ่มมากขึ้นกลับคืนไปสู่ผู้ซื้อหน่วยลงทุน

ข้อมูลเพิ่มเติม
Shutterstock 492158239

เคล็ดลับสมองแจ่มใส เพื่อสุขภาพที่ดีของทุกวัย

สมองที่แข็งแรงย่อมทำให้คนเราสุขภาพดีและมีชีวิตที่เป็นสุข แต่ละช่วงวัยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไรและควรใส่ใจอะไรบ้างเพื่อสมองที่สุขภาพดี

ข้อมูลเพิ่มเติม
Shutterstock 1660073293

ซื้อบ้านหรือคอนโดดีกว่ากัน คำถามที่มนุษย์เงินเดือนปลงไม่ตก

เตรียมความรู้ให้พร้อมก่อนตัดสินใจซื้อบ้านหรือคอนโด สิ่งใดบ้างที่ต้องให้ความสำคัญเพื่อการลงทุนทางที่อยู่อาศัยอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพในระยะยาว

, ข้อมูลเพิ่มเติม
Miniature,professional,tax,accountant,or,preparer,on,calculator.,blank,tax

ประกันชีวิตสะสมทรัพย์ ทางออกที่ดีเพื่อการลดหย่อนภาษี

ทุกปีผู้มีเงินได้ต้องเสียภาษีกันเท่าไหร่บ้าง การทำประกันชีวิตสะสมทรัพย์ช่วยลดหย่อนภาษีได้ดีกว่าอย่างไร เพราะอะไรประกันชีวิตสะสมทรัพย์จึงดีไม่แพ้การออมเงิน

ข้อมูลเพิ่มเติม
Silhouette,of,depressed,man,sitting,on,walkway,of,residence,building.

Post-Concert Depression ความเศร้าใจหลังคอนเสิร์ตเกิดขึ้นเพราะอะไร

ทำไมหลังคอนเสิร์ตทีไรมักรู้สึกว่าใจหม่นหมองเสียทุกครั้ง Post-Concert Depression คืออะไร และคนรักการไปคอนควรรับมือภาวะทางใจนี้อย่างไร

ข้อมูลเพิ่มเติม
Long,covid,syndrome,and,coronavirus,pandemic,symptoms,that,persist,as

เมื่อ Long Covid ยังคงตามติดจะดูแลสุขภาพอย่างไรได้บ้าง

รับมือกับภาวะข้าวของแพงอย่างมีสติก่อนจะต้องเผชิญวิกฤติเงินเฟ้อจนยากจะหาทางออก ตระหนักในผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นตามมาเพื่อเตรียมพร้อมต่อการปรับตัวให้อยู่รอด

ข้อมูลเพิ่มเติม
Concept,of,retirement,planning.,miniature,people:,old,couple,figure,standing

วางแผนเกษียณอย่างไรให้ชีวิตมั่นคงทางการเงิน

ควรเริ่มวางแผนเกษียนเมื่อไหร่ ?  คำถามในใจของมนุษย์วัยทำงานที่มองการณ์ไกล เพราะท้ายที่สุดเส้นทางชีวิตทำงานก็ย่อมสิ้นสุดลงท่ีการเกษียณอายุ

, ข้อมูลเพิ่มเติม
Fire,fighters,putting,out,a,house,fire

5 เหตุผลว่าทำไมถึงควรมีประกันอัคคีภัยบ้าน

ประกันอัคคีภัยจำเป็นแค่ไหน เพราะการทำประกันอัคคีภัยเป็นมากกว่าเรื่องไฟไหม้บ้านแต่ยังคุ้มครองความเสียหายที่เกิดจากภัยธรรมชาติและอุบัติเหตุอื่นๆ ต่อที่อยู่อาศัย

ข้อมูลเพิ่มเติม
Shutterstock 2057838890

6 เรื่องเงินเฟ้อต้องรู้ก่อนวิกฤติ

รับมือกับภาวะข้าวของแพงอย่างมีสติก่อนจะต้องเผชิญวิกฤติเงินเฟ้อจนยากจะหาทางออก ตระหนักในผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นตามมาเพื่อเตรียมพร้อมต่อการปรับตัวให้อยู่รอด

ข้อมูลเพิ่มเติม
Shutterstock 2185859817

Nostalverse แผนการตลาดที่ฟื้นคืนความทรงจำวันวานให้คนไทย

ผลวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหิดลเผยว่าการตลาด Nostalverse สามารถปลุกความทรงจำในอดีตเพื่อความสุขที่หวนคืน สู่การต่อยอดกลยุทธ์ธุรกิจที่ตอบโจทย์ความต้องการของผู้บริโภค

ข้อมูลเพิ่มเติม
Shutterstock 1759174118

Post Vacation Depression ทำไมใจหมองหม่นหลังเที่ยว

จริงๆแล้วคนเรามีโอกาสเผชิญกับสภาพจิตใจที่แห้งเหี่ยวหลังกลับจากทริปเที่ยว หรือที่เรียกว่า Post Vacation Depression นักเที่ยวตัวจริงควรรับมือกับอาการนี้อย่างไร

, ข้อมูลเพิ่มเติม
Shutterstock 2152426145

ดื่มน้ำน้อยไปทำอย่างไรให้ร่างกายได้รับน้ำเพียงพอ

การดื่มน้ำไม่เพียงพอกับความต้องการย่อมส่งผลเสียต่อให้ใช้ชีวิตไม่เต็มที่ ทั้งยังอาจนำมาซึ่งโรคเรื้อรังอีกมาก ใส่ใจสุขภาพได้ง่ายๆกับเทคนิคดื่มน้ำอย่างเหมาะสม

ข้อมูลเพิ่มเติม
Image 12

วางแผนมีลูกสักคน เก็บเงินล่วงหน้าสักเท่าไหร่ดี

การมีลูกซักคนมีค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูงในภาวะปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม การมีลูกถือเป็นความสุขสุดยอดของครอบครัว และจะช่วยเติมเต็มครอบครัวให้สมบูรณ์มากขึ้น

ข้อมูลเพิ่มเติม
Image Happy Asian Woman Eating 600w 2001960107 1

ออมเงินแบบไหน กำไรเร็วกว่า

การลงทุนที่เหมาะสมกับตัวเราเอง หากเราทำได้ มันก็จะเป็นการลงทุนที่สร้างผลกำไรงาม และความสุขให้กับชีวิตของเราได้นั่นเอง

ข้อมูลเพิ่มเติม
Image 8

ทริคเก็บเงินของมหาเศรษฐีที่พวกเราทำตามกันได้

การคิดนั้นเป็นเรื่องที่ดี แต่การคิดมากจนเกินไปจะทำให้เราวนอยู่ในความคิดของตนเอง เมื่อคิดจนสุดทางแล้วยังไม่สามารถหาคำตอบหรือสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ ได้ ให้หยุดคิดและหันมาใช้จินตนาการ

ข้อมูลเพิ่มเติม
7 วธออมเงน

7 วิธีออมเงินง่าย ๆ ใช้เก่งยังไงก็เก็บเงินอยู่!

การออมเงินไม่ใช่เรื่องยาก แต่เป็นเรื่องของการวางแผน ตั้งใจ หักห้ามใจ และมีวินัยในตนเอง รับรองได้เลยว่า ถ้าทำตามทั้ง 7 วิธีที่กล่าวมานี้ ยังไงก็มีเงินเก็บแน่นอน

ข้อมูลเพิ่มเติม
Blogbanner Mymo

จัดการเรื่องเงินให้อยู่หมัดด้วย MyMo

หากเราเป็นแฟนพันธุ์แท้กับทางธนาคารออมสิน แนะนำให้รีบโหลดมาใช้เลย มีประโยชน์ และดีงามกับเรามากๆ มันทำให้ชีวิตของเราสะดวกสบายขึ้น เอาเวลาที่เหลือไปทำงานอย่างอื่นได้อย่างสบายๆ

ข้อมูลเพิ่มเติม
Blog 4

เคล็ดลับวางแผนทางการเงินสำหรับผู้สูงวัย – อย่าลืมเรื่องสุขภาพ

สินเชื่อที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุ” หรือ Reverse Mortgage ที่ให้ผู้สูงอายุนำบ้านปลอดภาระหนี้ของตัวเองมาจำนองกับธนาคาร แล้วธนาคารจะจ่ายเงินกู้ ให้ทุกเดือน

ข้อมูลเพิ่มเติม
38c72dae A3ad 40fd Be95 22031108d02d 1

เคล็ดลับวางแผนทางการเงินสำหรับผู้สูงวัย – จัดการเรื่องทรัพย์สินมรดก

ปัจจุบันสินเชื่อ Reverse Mortgage มีให้บริการในธนาคารบางแห่งเท่านั้น ถ้าสนใจแนะนำให้ลองดู “สินเชื่อที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุ” ของธนาคารออมสิน เลยค่ะ

ข้อมูลเพิ่มเติม
Blog 1

เคล็ดลับวางแผนทางการเงินสำหรับผู้สูงวัย – ตรวจสอบรายรับ-รายจ่ายทั้งหมด

วิธีง่าย ๆ ก็คือ ให้ตั้งเป้าหมายการใช้จ่ายในแต่ละประเภท พร้อมกับจดบันทึกรายรับ-รายจ่ายเอาไว้ทุกครั้ง นอกจากจะป้องกันไม่ให้เงินรั่วไหล

ข้อมูลเพิ่มเติม
Blog 3

เคล็ดลับวางแผนทางการเงินสำหรับผู้สูงวัย – เคลียร์หนี้สินที่มี

การเตรียมพร้อมไว้ไม่ใช่เรื่องเสียหาย อย่างน้อยก็ช่วยลดความยุ่งยากให้กับลูกหลาน หรือถ้าคุณเป็นโสด อยู่คนเดียว ไม่มีลูกหลาน

ข้อมูลเพิ่มเติม
8df8c78f B1b6 463b 8aeb F60a0cda62c7

เคล็ดลับวางแผนทางการเงินสำหรับผู้สูงวัย – ลงทุนให้เหมาะกับความเสี่ยง

ไม่ว่าจะลงทุนประเภทใด ต้องศึกษาข้อมูลและพิจารณาให้รอบด้านก่อนทุกครั้ง หรือปรึกษาผู้เชี่ยวชาญด้านการลงทุน

ข้อมูลเพิ่มเติม
38c72dae A3ad 40fd Be95 22031108d02d 1

เคล็ดลับวางแผนทางการเงินสำหรับผู้สูงวัย – จัดการเรื่องทรัพย์สินมรดก

ถือเป็นทางเลือกที่น่าสนใจสำหรับผู้สูงวัยที่มีบ้านเป็นของตัวเอง และต้องการเงินไว้ใช้จ่ายยามเกษียณ ก็สามารถเปลี่ยนบ้านให้เป็นรายได้แบบรายเดือนได้ง่าย ๆ

ข้อมูลเพิ่มเติม
Skip to content