แจ้งเตือนให้รู้ ว่าใครอยู่ในวงจรหนี้เรื้อรัง
ผู้ให้บริการพร้อมให้ความช่วยเหลือตามแนวทาง responsible lending
จะรู้ได้อย่างไรว่าเราเป็นหนี้เรื้อรัง >> เจ้าหนี้จะแจ้งเตือนลูกหนี้
ความถี่ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ทั้งลูกหนี้เริ่มเรื้อรัง (general PD) และลูกหนี้เรื้อรัง (severe PD) จะแจ้งเตือนครั้งแรก ภายใน เม.ย. 67
แจ้งอะไรบ้าง
แจ้งผ่านทางใดทางหนึ่ง > จดหมาย / อีเมล/ SMS / โมบายแอปพลิเคชัน / Line official
เจ้าหนี้พร้อมช่วยเหลือ เริ่ม 1 เมษายน 2567 เป็นต้นไป
อ่านรายละเอียดได้ที่นี่ https://www.bot.or.th/th/debtsolution.html
.
คลินิกแก้หนี้ by SAM คลิก > https://bit.ly/3vxdZGt
มาตรการปิดจบ หนี้เรื้อรัง ช่วยเหลือลูกหนี้อย่างไร?
⏰ จะได้รับแจ้งเตือนว่าเป็นลูกหนี้เรื้อรัง (severe PD) จะได้รับข้อเสนอให้สมัครเข้าร่วมมาตรการเพื่อปิดจบหนี้
ประโยชน์ 👍 ที่ลูกหนี้จะได้รับเมื่อเข้าร่วมมาตรการ
⏳ ระยะเวลาปิดจบหนี้ภายใน 5 ปี
📉 อัตราดอกเบี้ย ไม่เกิน 15% ต่อปี
🙋♂️ เงื่อนไขผ่อนไหวเหมาะสมกับรายได้
⛔️ แต่ต้องปิดวงเงินสินเชื่อของบัญชีที่เข้าร่วม เพื่อให้สามารถปิดจบหนี้ได้จริง
อ่านรายละเอียดได้ที่นี่ https://www.bot.or.th/th/debtsolution.html
คลินิกแก้หนี้ by SAM คลิก >
เริ่มแล้ว! ทางเลือกสำหรับปิดจบหนี้เรื้อรัง 1 เม.ย. 67
🔹 3 เรื่องที่ต้องรู้ ‼ ก่อนเข้ามาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง
📌 อ่านรายละเอียดที่นี่ https://www.bot.or.th/debtsolution
📌 ติดต่อคลินิกแก้หนี้ by SAM คลิก > https://bit.ly/3vxdZGt
เจ้าหนี้จะต้องแจ้งรายละเอียดของภาระหนี้พร้อมข้อมูลสำคัญอื่น ๆ แก่ลูกหนี้ให้ครบถ้วน เช่น
และ “ห้ามเรียกให้ผู้ค้ำประกันชำระหนี้ก่อน”
ยกเว้น ลูกหนี้ล้มละลายหรือติดต่อไม่ได้
หากมีปัญหาการชำระหนี้ หรือต้องการปรับโครงสร้างหนี้ ติดต่อ GSB Contact Center โทร 1115
สามารถปิดหนี้ก่อนกำหนดได้ โดยไม่ต้องจ่าย Prepayment fee มีผลตั้งแต่ 1 ม.ค. 67
สำหรับสินเชื่อภายใต้การกำกับของแบงก์ชาติ ดังนี้
ยกเว้น สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย ที่ผู้ให้บริการยังสามารถเรียกเก็บค่าปรับรีไฟแนนซ์ได้ในช่วง 3 ปีแรกนับจากวันทำสัญญา
หากเคยปรับโครงสร้างหนี้ตั้งแต่ก่อนเป็นหนี้เสีย แต่ตอนนี้จ่ายไม่ไหวกลายเป็นหนี้เสีย ยังสามารถขอปรับโครงสร้างหนี้ได้อีกตามเกณฑ์ แต่หากเคยปรับโครงสร้างหนี้ ทั้งก่อนและหลังเป็นหนี้เสียแล้ว ยังสามารถปรึกษาเจ้าหนี้ได้เป็นรายกรณี
หมายเหตุ : เกณฑ์ responsible lending ลูกหนี้มีสิทธิขอปรับโครงสร้างหนี้ ก่อนเป็นหนี้เสีย อย่างน้อย 1 ครั้ง และหลังเป็นหนี้เสีย อย่างน้อย 1 ครั้ง โดยนับรวมการปรับโครงสร้างหนี้ก่อน 1 ม.ค. 67